วันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2555

ตรรกศาสตร์และการให้เหตุผล

ตรรกศาสตร์
อ้างเหตุผล
เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการ
การให้เหตุผล
คือ การอ้างหลักฐานเพื่อยืนยันว่า ข้อสรุป
ของเราเป็นความจริง
มีส่วนประกอบของการให้เหตุผล คือ
1.
ส่วนที่เป็นข้ออ้าง ( เหตุ) ซึ่งหมายถึงหลักฐาน
2.
ต้องการบอกว่าเป็นจริง
ส่วนที่เป็นข้อสรุป ( ผล ) ซึ่งหมายถึงสิ่งที่เรา
ตัวอย่าง
1.
น้ำท่วมเพราะฝนตก
2.
นักธุรกิจไทยก่อหนี้เกินความจำเป็น เศรษฐกิจจึงพัง
3.
ดังนั้นคนต่างชาติจึงชอบมาเที่ยวเมืองไทย
เพราะคนไทยมีน้ำใจและเมืองไทยมีวัฒนธรรมที่ดีงาม
4.
เพราะการเล่นฟุตบอลต้องอาศัยความแข็งแรง
นายแดงเป็นนักฟุตบอล ดังนั้นเขาจึงเป็นคนแข็งแรง
ประเภทของการให้เหตุผล
1.
การให้เหตุผลแบบอุปนัย ( Inductive reasoning )
เป็นการให้เหตุผลโดยการอ้างหลักฐานจาก
การสังเกต
ประสบการณ์
และ
เกี่ยวกับ
สิ่งนั้น
การทดลอง จึงสรุปเป็นกฎ หรือความเป็นจริงทั่วๆไป
ตัวอย่าง
1
เหตุ
1) การสอบย่อยครั้งที่ 1 วีณาได้คะแนนสูงที่สุด
2)
การสอบย่อยครั้งที่ 2 วีณาได้คะแนนสูงที่สุด
3)
การสอบกลางภาค วีณาได้คะแนนสูงที่สุด
ผล
ในการสอบปลายภาควีณาได้คะแนนสูงที่สุด
2.
การให้เหตุผลแบบนิรนัย ( Deductive reasoning )
การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการให้เหตุผลที่อ้างว่าสิ่งที่
กำหนดให้
สมมติ
ต่างๆ สรุปผลจากเหตุที่กำหนดให้
(เหตุ) ยืนยันผลสรุป โดยกำหนดให้เหตุ(หรือข้อ) เป็นจริง หรือยอมรับว่าเป็นจริง แล้วใช้กฏเกณฑ์
ตัวอย่าง
3 เหตุ 1) ถ้าไม่สบายต้องกินยา
2)
อุ๊ไม่สบาย
ผล
อุ๊ต้องกินยา
ตัวอย่าง
4 เหตุ 1) คนทุกคนบินได้
2)
นายไมเคิล โอเว่น เป็นคนผล นายไมเคิล โอเว่นบินได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น